Category Human Resource

เมื่อต้องหลุดเข้าไปอยู่ในกลุ่ม Line ของ End User

ตอนแรก ผมไม่อยากเข้าไปในกลุ่มนี้ครับ (เอาจริงๆมันเป็น UAT เก่าครับ) แต่ทีม Support ของบริษัท ก็ก่อคดีไว้เยอะมาก เช่น หลังจากโดนบ่นซะหน้าชา เอาหวะลองเข้ามาดูและกัน แม้ว่ามันจะผิดกฏของบริษัทก็ตามครับ ผ่านมา 2 สัปดาห์และลองมาดูผลกัน สรุป ความจริง กลุ่ม Line กับ End User ควรเอามาใช้ตอนสำหรับช่วงระยะเวลาเร่งด่วนมากกว่า ที่มีระยะเวลาชัดเจน เช่น ช่วง UAT ของโครงการ แต่ในระยะยาวเอาจริงๆ ผมว่าไม่เหมาะสมนะ งานควรเดินตามกระบวนการ MA มากกว่านะ แล้วต้องเปิดรับ Feedback จาก End User จริงๆ…

ปีนี้ขอไม่เล่นเกม Buddy และอาจจะตลอดไป

หัวข้อของ Blog ตอนนี้ก็จ่อดราม่าแล้วครับ ทำไมปีนี้ผมถึงขอไม่เล่นเกม Buddy และตลอดไป มาดูก่อนก่อนครับกิจกรรมบัดดี้ โดยเจ้ากิจกรรมบัดดี้เป็นกิจกรรมที่เอาทุกคนในองค์กรมาเขย่า และจับฉลากจับคู่กัน โดยมีคำ 2 ครับที่ต้องรู้ในกิจกรรมนี้ครับ บั๊ดดี้ (Buddy) – คนที่เราจะต้องไปเทคแคร์ / ช่วยเหลือเค้า บั๊ดเดอร์ (Budder) – คนจะมาเทคแคร์เรา / ช่วยเหลือเรา กิจกรรมบัดดี้ อันนี้แล้วแต่องค์กรครับ ว่าจะจับฉลากแล้วเปิดเผยเลยไหม จากนั้นค่อยทำงานร่วมกัน ช่วยกัน หรือจะเป็นการซ่อนแอบ โดยการเข้าไปเทคแคร์ครับ ข้อดีของกิจกรรม ทำให้พนักงานรู้จักกันมากขึ้น – ผมว่าอันนี้น่าจะเหมาะกับตอนที่องค์กรมีพนักงานเปลี่ยนถ่ายมากพอสมควรนะ ตอนแรกอาจจะไม่รู้จขัก เพราะอยู่คนละส่วนงานกัน ทำให้รู้จักกันมากขึ้นด้วย ฝึกการเป็นทั้งผู้ให้ และผู้รับ…

ที่มาของ shit

พอดีมีความแชร์มาใน Line และเห็นว่า ถ้าลองอ่านดีๆแล้ว มันแสดงแง่คิดในการทำงานเยอะมากครับ ลองอ่านกันดูครับ In the beginning was the plan. กาลครั้งหนึ่งเมื่อเริ่มต้นมีการวางแผน And then came the assumptions. และมีการตั้งสมมติฐาน And the assumptions were without form. และสมมติฐานนั้นไม่มีรูปแบบ And the plan was without substance. และแผนงานก็ไม่มีสาระสำคัญ And darkness was upon the face of…

[ATH2016] Good Transformation Coach

สำหรับตอนนี้ Good Transformation Coach โดยคุณ อุรณเทพ (พี่กัน) ครับ Blog อันนี้แตกมาจาก สรุปงาน Agile Thailand 2016 ครับ เป็น Session พิเศษครับ ต่อจากหัวข้อ Agile Transformation เพราะห้องอื่นเต็มหมดครับ โดยการเป็น Coach หรือ Manager ที่ดี ต้องมีความสามารถเหล่านี้ แต่มันไม่สามารถอ่านจากหนังสือได้ ต้องสะสมประสบการณ์ เก็บเกี่ยวไปสักพักนึงครับ โดยมีทั้งหมด 10 ข้อ ดังนี้ They have an uncanny ability to…

[ATH2016] Agile Transformation

สำหรับตอนนี้ Agile Transformation โดยคุณ อุรณเทพ (พี่กัน) ครับ Blog อันนี้แตกมาจาก สรุปงาน Agile Thailand 2016 ครับ การเปลี่ยนองค์การ หรือบริษัทให้มาใช้ Agile เราใช้ Agile ได้สิ่งที่เราต้องรู้ คือ ถ้านำ Agile มาใช้ เราต้องรู้จักคนก่อน โดยใช้เมตริกซ์ DISC มาดูที่แกนต่างๆกันก่อน ตอนบรรยายพี่กันให้ทุกคนคิดว่าตัวเองเป็นแบบไหน และเลือกฝั่งครับ แบ่งคนเป็นกลุ่ม 4 กลุ่ม ดังนี้ครับ Type Key Desription Remark D(Dominant) What Active-Questioning ตั้งคำถามเยอะ…

ลองเข้าร่วมเป็นกรรมการสอบสัมภาษณ์งานครั้งแรก

ภาพจาก https://commons.wikimedia.org/wiki/File:John_Lavery_-_IWM_War_Room.jpg

ทำงานที่ บ เดิมมา 2 ปีกว่า มีคนในทีมที่ต้องดูแล 2 คน วันนี้เป็นอีกวันครั้งที่ได้มีโอกาสเข้าไปสังเกตุการสัมภาษณ์ และได้สัมภาษณ์จริงๆ จากน้องๆที่มาจาก มศว ครับ การสัมภาษณ์งาน แม้ว่าคุยแค่ 10 – 30 นาที แต่เราต้องรู้ให้ได้มากที่สุดครับว่าคน คนนั้นเหมาะสมกับองค์กรไหม โดยดู ดังนี้ และอื่นจิปาถะ เดี๋ยวถ้ามี update อะไร ผมจะมา update เพิ่มครับ โดยเท่าที่รู้มาศาสตร์ด้วยการจัดการทรัพยากรบุคคล หรือ HR เนี่ย มันแยกเป็นชั้นเรียน เพื่อสอนโดยเฉพาะเลยครับ

Proudly-Found-Elsewhere Syndrome

  Proudly-Found-Elsewhere Syndrome (PFE Syndrome) หรือ Invent Syndrome ความหมายของมันแตกต่างกับตัว Not-Invented-here Syndrome อย่างสิ้นเชิงเลยครับ คือ มีการสร้างงาน หรือ นวัตกรรมใหม่ขึ้นมาครับ สำหรับในมุมของ Software Development เป็นการนำ Library ที่ Common มาใช้งานเสริมได้ เวลาที่เหลือเราก็เอาไปใส่ใจกับส่วนของ Core Business มากขึ้นได้ครับ ส่วน PFE Syndrome คำแนะนำของผม คือ ต้องเปิดใจ พร้อมที่จะเรียนรู้ และคำนึงถึงความสมเหตุสมผลที่เลือกใช้ เพราะ มันไม่ได้มีวิธีการตายตัวที่ตอบโจทย์กับปัญหาต่างๆครับ และก็ท้ายที่สุด ผมมีบทความแนะนำครับ From not invented here…

Not-Invented-Here Syndrome

Not-Invented-Here Syndrome

Not-Invented-Here Syndrome หลายคนอาจจะงง ว่า Blog นี้มันสาย IT นี่หว่า แต่แล้วทำไมมาเขียนแนวคุณหมอซะหละ สำหรับเจ้า Not-Invented-Here Syndrome หรือ NIT Syndrome คือ การยึดติดกับสิ่งเดิม ระบบความเชื่อความคิดของตนเองเป็นหลัก มักจะพบในหน่วยงาน หรือองค์กรที่มีอายุยาวนาน และประสบความสำเร็จมากมายครับ ซึ่งเจ้าตัว Not-Invented-Here Syndrome มันเป็นตัวขัดขวางสิ่งที่เรียกว่า นวัตกรรม หรือ Innovation นั้นเองครับ โดยเจ้า NIT Syndrome มีส่วนที่ต่างๆ ที่บ่งบอกว่า หน่วยงาน หรือองค์กร กำลังจะเป็น ดังนี้ครับ แต่เจ้า NIT Syndrome มันก็ไม่ได้ร้ายเสมอไปนะครับ บางครับมันมีเหตุผลที่จำเป็นเหมือนกันนะครับ เช่น โมดูลนี้มันเป็น Core…