บันทึกอาการที่เกิดขึ้นหลังฉีดวัคซีน AstraZeneca เข็มที่ 2 (PV)

หลังจาก Blog ตอนก่อนหน้า บันทึกอาการที่เกิดขึ้นหลังฉีดวัคซีน AstraZeneca เข็มที่ 1 (SBS) และมีฉีดวัคซีนเข็มที่ 2 ไปเมื่อวันที่ 01 ก.ย. 64 ครับ เรามาลองสรุปอาการที่เกิดขึ้นหลังฉีดวัคซีนกันครับ 01 กันยายน พ.ศ. 2564 ช่วงบ่ายมีอาการปวดแขนที่จุดที่ฉีด เร็วกว่าเข็มแรกที่จะปวดช่วงเย็นๆครับ ท้องเสีย เข้าห้องน้ำหลายรอยอยู่ แต่วันนั้นทั้งวันไม่ได้กินอะไรเลย ฉีดวัคซีนเสร็จรีบไปปิดบัญชี กับเปลี่ยนฟิล์มมือถือ และรีบกลับมาทำงานช่วงบ่ายครับ 02 กันยายน พ.ศ. 2564 ช่วงเช้ารู้สึกว่ามีไข้ขึ้นนะ แต่วัดอุณหภูมิแล้ว ไม่เกิด 37.0 C กับรู้สึกอ่อนเพลีย เลยกินยาพารา และทำงานต่อครับ อาการปวดแขนที่จุดที่ฉีดหนักมา โชคดีที่เลือกแขนซ้าย เมาส์ก็เลยยังใช้งานได้อยู่ครับ ช่วงเย็นๆ อาการดีขึ้นตามลำดับครับ

บันทึกการฉีดวัคซีน COVID-19 #02

หลังจากย้ายค่ายมาประกันสังคม รอ SMS มานานก็ได้ SMS แจ้งเตือนให้มาฉีดวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2564 ช่วงเช้า สิ่งที่ต้องเตรียมตัว บัตรประชนชนตัวจริง บัตรประชาชนหมดอายุ สรุปของ กทม จอง App BMAQ (Android / iOS ) จองคิวได้ แต่ที่นี้ขึ้นกับเขตใกล้บ้านแล้วว่าจะเปิดไหมครับ อย่างเขตของบ้านผม ปิดยาวๆ เลยตัดสินใจไปทำเขตอื่นแทน ยอมเสียเวลา ดึกว่าไปรอระบบราชกาล เพราะบัตรหมดอายุ จะทำอะไรติดขัดไปหมด เสียเวลา ปากกา พักผ่อนให้เพียงพอ / ดื่มน้ำเยอะๆ Flow การเข้าฉีดวัคซีน จริงๆ เหมือนกันใน Blog ตอนแรกเลยครับ แต่เนื่องจากไม่ได้กำหนดว่าบริษัทไหนต้องเข้ามากี่โมงครับ เลยมีจุดพิเศษเพิ่มมาจากเดิมครับ จุดศูนย์ (09:01) อยู่ท้ายแถวในลานจอดรถ จุดหนึ่ง (09:26) รอลงทะเบียน จากเดิมที่แต่ละบริษัทเข้่าไปจุดลงทะเบียนของประกันสังคม คราวนี้ต้องต่อคิวยาวเลยครับ แถวยาวขดไป จุดหนึ่งจุดห้า (09:28) พักคอย รอจุดที่สองว่าง ตรงจุดนี้ก็ยืนไป เขียนเอกสาร ฆ่าเวลาไปครับ จุดสอง (10:02) ลงทะเบียน และตรวจสอบสิทธิ ตรงนี้ดีนะ มีแยกช่องบริการสำหรับผู้พิการ และชาวต่างชาติด้วย จุดสาม (10:28) วัดความดัน ซักประวัติ ไม่วัดความดันทุกคนแล้วครับ จะวัดกรณีที่ซักประวัติ แล้วมีจุดที่ต้องเผ้าระวังเท่านั้น จุดสี่ (10:45) ฉีดวัคซีน ผมรู้สึกว่าของเดิมมันเปิดใช้ทั้งหมด 4 ช่องนะ แต่ช่วงที่ผมไปเหลือ 2 ช่องเท่านั้น ได้ฉีดวัคซีนจริงตอน 10:58 จุดที่ห้า (10:59) สังเกตุอาการ 30 นาที อันนี้รอนานกว่าครับ 5555 โดยผมได้ถูกเรียกชื่อ และรับเอกสารตอน 11:37 NOTE: สำหรับคนที่มาก่อน 8 โมง…

[POWERSHELL] เขียน Script ส่งเมล์กันครับ

multi coloured wooden mailbox mounted on door

เนื่องจาก Service เดิมที่ใช้ส่งเมล์แจ้งเตือนเรื่อง Build เกิดปัญหา เลยถือโอกาศปรับจากเดิมที่เป็น exe ของ vb6 ที่ไม่รองรับ Security ใหม่ๆ มาใช้เป็น PowerShell ให้ส่งเมล์ผ่าน Gmail แทนครับ ซึ่งมันเอาไปผูกกับ Jenkins ได้สะดวกด้วย เลยขอมาสรุปขั้นตอน และ Script ที่ใช้งาน เตรียมตัว Google Account ที่ทำ App Password เรียบร้อย ถ้าใครยังไม่ทำสามารถศึกษาจาก Blog ผมได้ครับ ติดตั้ง PowerShell ให้เรียบร้อย (ปกติมันลงมาพร้อมกับ Windows ) Script PowerShell ที่ใช้ Script สั้นๆครับ เพราะจริงๆ แล้วตัว PowerShell เรียกใช้ Library ของ .NET มาอยู่แล้วครับ จาก Script ข้างต้น Library ของ .NET ที่ใช้งาน System.Net.Mail.MailMessage : เอาไว้สร้างเนิ้อหาของ Email ครับ Net.Mail.SmtpClient : ส่งเมล์ผ่าน smtp.gmail.com ที่ port 587 System.Net.NetworkCredential : สร้างกุญแจสำหรับเข้าระบบเมล์ครับ โดยในที่นี้ ผมจะใส่ Email และ App Password ที่เตรียมไว้ครับ (App Password ไม่ใช่ Password ของ Email นะครับ) ไม่งั้นจะไปเจอ Error

[RHEL] สร้าง user ใหม่ แล้วไม่มีสีตรง Shell

จาก Blog ตอนก่อน [UBUNTU] สร้าง User ใหม่แล้ว Terminal โง่มากก อยากได้ Terminal แบบเดิมๆ มีสีสัน คราวนี้เป็นรอบของ RedHat บ้างครับ โดยมีหลักการคล้ายๆ กับ Blog เดิมเลย คือ ไปกำหนดค่าสีให้ตัวตัวแปร PS1 ครับ แก้ Shell ให้กับทุก User ต้องใช้ root แก้ไฟล์ /etc/bashrc โดยมีคำสั่ง ดังนี้ (ใข้ Tool ตามถนัดนะครับ สำหรับผมถนัดใช้ nano) เมื่อเข้า nano เติมค่าสีที่กำหนดในตัวแปร PS1 ได้เลย สำหรับผมเอาสีมาจาก Blog เดิม คุ้นตาดีครับ Restart Bash และทำให้มันคงถาวรด้วยคำสั่ง แก้ Shell ให้กับบาง User ตรงนี้จากเดิมที่ไปแก้ /etc/bashrc ให้ไปแก้ไฟล์ .bashrc ที่ home ของ user นั้นแทนครับ ยกตัวอย่าง ผมอยากแก้ของ user invsmssql ใช้คำสั่ง ดังนี้ เมื่อเข้า nano เติมค่าสีที่กำหนดในตัวแปร PS1 ได้เลย ของผม Copy มาจากส่วนของ root แหละครับ Restart Bash และทำให้มันคงถาวรด้วยคำสั่ง Reference How do I set the color of terminal bash prompt and background based on user or…

[MSSQL] SQL Server 2019 container: Restore Database

หลังจาก Blog ตอนที่แล้ว ลอง Deploy SQL Server 2019 container บน RedHat8 + Podman คราวนี้เรามาลอง Restore Database จากไฟล์ .bak กันครับ NOTE: MSSQL2019 ชื่อ Container จาก Blog ตอนก่อน เตรียม Folder Backup สร้าง Folder backup ขึ้นมาที่ Path Mount /var/mssql/data หรือ สร้าง Path ข้างใน Container ด้วยคำสั่ง เอาไฟล์ backup โยนเข้าไป ถ้ามีไฟล์อยู่ใน Server อยู่แล้ว สามารถใช้คำสั่ง Copy เข้าไปได้เลย ถ้าไม่มีไฟล์ โยนไฟล์จาก FTP เข้าไปที่ /var/mssql/data/backup ดังตัวอย่าง ตรวจสอบไฟล์ backup สำหรับขั้นตอนนี้เป็นการส่องไฟล์ .bak ที่โยนเข้าไปใน Server ว่าข้างในมันมีไฟล์ อะไรบ้างครับ ได้แก่ .mdf / .ldf / .ndf หรือ In Memory Data เป็นต้น คำสั่งที่ใช้สำหรับการตรวจสอบไฟล์ มีดังนี้ ตัวอย่าง ผลลัพธ์ที่ได้ จากผลลัพธ์ที่ได้ พบว่ามีไฟล์ .mdf / .ldf โดยข้อมูลตรงนี้ ถูกเอาไปใช้ในการกำหนด Path ของแต่ละไฟล์ หลัง Restore Database ขึ้นมาใหม่ครับ Restore ไฟล์ backup ขั้นตอนนี้อ้างอิงมาจาก Step ก่อนหน้า คือ…

RPO และ RTO คือ อะไร และสัมพันธ์กับ Disaster Recovery อย่างไร

Reference: https://m.facebook.com/Raccoon-City-93637717058/

หลังๆมาตอน Implement ระบบที่ Site ใหม่ๆ ต้องเจอคำถามว่า ควรมี Solution Backup อย่างไร / ถ้ามีปัญหาที่ DC เราจะเตรียมความพร้อมกันอย่างไร เป็นต้นครับ มันเลยเป็นที่มาของ Blog นี้ด้วยครับ ที่มาสรุป Keyword ต่างๆ ที่สำคัญกันครับ Disaster คือ อะไร ? เหตุการณ์ที่ผิดแปลกไปจากสถานการณ์ปกติ เช่น เครื่อง Server พัง, Network ขาด, ไฟไหม้ หรือ ตึก DC โดนตัดไฟ เป็นต้น แม้ว่ามันจะเป็นเหตุการณ์ที่ไม่เจอประจำ แต่เราต้องเตรียมแผนรับมือ โดยจะได้ยินคำว่า BCP (Business Continuity Plan) แผนที่ทำให้ธุรกิจดำเนินต่อเนื่องได้แบบไม่สะดุด อันนี้จะมุมของ Business DRP (Disaster Recovery Plan) แผนที่ช่วยกอบกู้สิ่งที่สนใจ จากสภาวะที่แย่ที่สุด กลับมาพร้อมทำงานได้รวดเร็ว โดยสิ่งที่สนใจ ถ้าในงาน IT ระบบ IT แต่ถ้าเป็นธุรกิจอื่นๆ อาจจะเป็น Business Unit ต่างๆ ครับ สำหรับผมตัว DRP เหมือนเป็นแผนที่ช่วย Support BCP ในเคสที่แย่ที่สุดครับ จากที่เล่าเรื่อง Disaster ไปและมาถึง Disaster Recovery จริงๆ อาจจะไม่ต้องอธิบายความหมายแล้วก็ได้นะครับ มัน คือ การกอบกู้สิ่งที่สนใจ จากสภาวะที่แย่ที่สุด ให้กลับไปสู่สภาวะปกติ ตอนนี้ผมขอ Focus ไปที่ระบบ IT แล้วนะครับ มันจะเป็น การกอบกู้ระบบ IT จากสภาวะที่แย่ที่สุด IT Disaster Recovery ตอนนี้มาถึงจุดที่ต้องดูแล้วครับ Disaster Recovery…

[CR] Starbucks Chicken & Crispy Bacon Caesar Warp

Chicken & Crispy Bacon Caesar Warp ราคา 145 บาท รสชาติ – อร่อยครับ สลัดไก่ซีซาร์ เนื่อไก่นุ่ม ห่อผัก ซอสที่ใส่มาข้างเป็นซอสซีซ่า อีกมุมเป็นไข่ต้ม ชีส เบคอน ผักกาด ตัดรสได้กับชีสเยิ้มๆ ไข่ต้ม เบคอน ผักกาด ห่อด้วยแป้งทอทิลล่า ให้รสสัมผัสลิ้นแปลกใหม่ดีนะ พลังงาน 461-490 แคลลอรี่ Reference (พลังงานของแต่ละเมนู) Chicken and Bacon Caesar Wrap Nutrition Facts – Eat This Much

[AIX] เพิ่มพื้นที่ Disk บน AIX

AIX

Blog อันนี้ ผม Re-Write จาก Note ที่เคยทำไปเมื่อปีก่อนครับ อาจจะไม่อัพเดตล่าสุดครับ ทำไมถึงต้องขยายพื้นที่ Disk เพิ่ม ปัญหา ลูกค้าต้องการเพิ่ม Database อีก 2 ก้อน เพื่อทดสอบระบบงานครับ ทำให้ Disk เดิมที่ Allocate ไว้ 60GB อาจจะไม่เพียงพอครับ แนวทางการแก้ไข เพิ่ม Disk ขึ้นมาเป็น 100 GB ครับ (ที่มาของ 100 GB เพราะคำนวณ Max Growth ของ Database แต่ละก้อนแล้ว ใช้พื้นที่ไม่เกิน 30 GB ครับ) แต่เราต้องทราบข้อมูลเดิมของเครื่อง DB Server ก่อนครับ เครื่อง DB Serverมี Disk ทั้งหมด 500 GB โดยถูก Allocate ไปแล้ว 200 GB ครับ จึงเหลือพื้นที่ที่สามารถขยายได้อีกประมาณ 300 GB ครับ หลังจากทราบปัญหา และแนวทางการแก้ไข มาลุยกันได้เลยครับ เพิ่มพื้นที่ทำได้ไม่ยาก แต่การลดพื้นที่ทำได้ยาก pingkunga ขั้นตอนขยายพื้นที่ Disk เพิ่ม ตรวจสอบ Disk Space ของเนื้อที่ใน db2data/db2inst1/NODE0000 ด้วยคำสั่ง du -gs NODE00* ตรวจสอบพื้นที่ใช้งานอยู่ใน Format GB ด้วยคำสั่ง df -g ต่อไปนี้ต้องใช้ user root ในการแก้ไขนะครับ ตรวจสอบพืนที่ vg ด้วยคำสั่ง lsvg ดูพื้นที่ lsvg…

[MSSQL] Deploy SQL Server 2019 container บน RedHat8 + Podman

สำหรับ Blog ตอนนี้ เนื่องจากมี Project ใหม่ทีใช้ SQL SERVER เป็นหลักแล้ว ยังมี VM จาก Project ก่อนที่เป็น RedHat 8 + Podman เป็นมรดกอยู่ครับ ซึ่งเป็นโอกาศที่ดีเลยที่จะทดสอบ SQL SERVER บนระบบปฏิบัติการ RedHat 8 ครับ ข้อควรระวัง Container ของ SQL Server 2019 ถูกปรับให้ user เป็น non-root เข้ามาจัดการ ทำให้ยังมี Issue เกี่ยวกับเรื่องสิทธิของการ Mount Volume Unable to run SQL Server 2019 docker with volumes and get ERROR: Setup FAILED copying system data file – Stack Overflow สำหรับใน Blog ตอนนี้ออกจะเป็นแนว Hack นิดๆ เพราะ เป็นการใช้ SQL Server 2019 container แบบ rootless mode ครับ เตรียมความพร้อม SQL Server 2019 container (rootless mode) มี Internet หรือ Image SQL Server 2019 container โดยสำหรับระบบปฏิบัติการ RedHat SQL Server Red Hat Container…