Category The Mikado Method

Technical Debt เขียน Code แล้วทำไมถึงติดหนี้ แถมมีดอกเบี้ยด้วย !!!

จากหัวข้อของบทความ หลายคนน่าจะสงสัยว่าทำไม “เขียน Code แล้วทำไมถึงติดหนี้ แถมมีดอกเบี้ยด้วย !!!” เดี๋ยวผมจะมาอธิบายครับ ว่าทำไมเราถึงได้สร้างหนี้ และหนี้ในการเขียน Code จริงๆ ก็ไม่เชิงนะ บอกว่าเป็นหนี้ในการพัฒนาระบบ น่าจะดีกว่าครับ โดยหนี้ที่เกิดขึ้นมี ดังนี้ครับ Acceptable – เป็นหนี้ในระยะสั้น และระยะยาวได้ประโยชน์ มองเป็นการลงทุนแนวๆ VI ได้เลยนะเนี่ย Unavoidable – หนี้ที่เกิดจากสถานการณ์ที่เราไม่สามารถคาดเดาได้ Unnecessary – หนี้ที่เกิดแล้วทำให้ระบบงานเรารอดมีงานส่งได้ หนี้ที่เกิดแล้วทำให้ระบบงานเรารอดมีงานส่งได้ แต่ไม่มีประโยชน์ให้แก่ทีมงาน หรือองค์กรเลย Bad – หนี้แบบซุกไว้ใต้พรม หนี้แบบนี้ ถ้าเกิดแล้วระบบงานของเราคงจะรอดยาก หรือขึ้น Production…

Proudly-Found-Elsewhere Syndrome

  Proudly-Found-Elsewhere Syndrome (PFE Syndrome) หรือ Invent Syndrome ความหมายของมันแตกต่างกับตัว Not-Invented-here Syndrome อย่างสิ้นเชิงเลยครับ คือ มีการสร้างงาน หรือ นวัตกรรมใหม่ขึ้นมาครับ สำหรับในมุมของ Software Development เป็นการนำ Library ที่ Common มาใช้งานเสริมได้ เวลาที่เหลือเราก็เอาไปใส่ใจกับส่วนของ Core Business มากขึ้นได้ครับ ส่วน PFE Syndrome คำแนะนำของผม คือ ต้องเปิดใจ พร้อมที่จะเรียนรู้ และคำนึงถึงความสมเหตุสมผลที่เลือกใช้ เพราะ มันไม่ได้มีวิธีการตายตัวที่ตอบโจทย์กับปัญหาต่างๆครับ และก็ท้ายที่สุด ผมมีบทความแนะนำครับ From not invented here…

Not-Invented-Here Syndrome

Not-Invented-Here Syndrome

Not-Invented-Here Syndrome หลายคนอาจจะงง ว่า Blog นี้มันสาย IT นี่หว่า แต่แล้วทำไมมาเขียนแนวคุณหมอซะหละ สำหรับเจ้า Not-Invented-Here Syndrome หรือ NIT Syndrome คือ การยึดติดกับสิ่งเดิม ระบบความเชื่อความคิดของตนเองเป็นหลัก มักจะพบในหน่วยงาน หรือองค์กรที่มีอายุยาวนาน และประสบความสำเร็จมากมายครับ ซึ่งเจ้าตัว Not-Invented-Here Syndrome มันเป็นตัวขัดขวางสิ่งที่เรียกว่า นวัตกรรม หรือ Innovation นั้นเองครับ โดยเจ้า NIT Syndrome มีส่วนที่ต่างๆ ที่บ่งบอกว่า หน่วยงาน หรือองค์กร กำลังจะเป็น ดังนี้ครับ แต่เจ้า NIT Syndrome มันก็ไม่ได้ร้ายเสมอไปนะครับ บางครับมันมีเหตุผลที่จำเป็นเหมือนกันนะครับ เช่น โมดูลนี้มันเป็น Core…