วันนี้ก็เรื่องมีสิ่งใหม่ๆ เข้ามาแล้วจากเดิมที่ query แบบปกติ คือ SQL ที่เราทำ มาเป็นตัว PL/SQL และก็มีโปรเจคเข้ามาแล้ว โดยตัวโปรเจตก็จะมีรายละเอียดคร่าวๆ
- จัดการข้อมูลใน Network ที่เก็บของ CDR ย้ายมาลงใน DB ของ Oracle และทำแบบ batch คือ ให้มันรันตามที่กำหนดไว้ เช่นทำทุก 9.30 น. ของทุกวัน
- นำข้อมูลที่เก็บใน DB ของ Oracle มาแสดงในเนำเสนอออกมาเป็น เว็บ ซึ่งต้องสามารถสร้าง Graph และออกตัว Report ได้
ความรู้ที่ได้จากการศึกษา PL/SQL
- PL/SQL: คือ อะไร และใช้อย่างไร (http://www.exzilla.net/docs/plsql01/plsql01.php)
- PL/SQL: Java Call (http://www.secondknow.com/2009/30/java-call-plsql/)
- PL/SQL: รวมฟังค์ชั่นที่ใช้บ่อยๆ
- http://wundee.blogspot.com/2010/09/function-string-plsql.html
- http://www.narisa.com/forums/index.php?showtopic=3826 - SUBSTR() & INSTR():
- http://www.puwadon.com/post.php?id=29
- http://www.narisa.com/forums/index.php?showtopic=33519 - Date in DB: (http://www.songkwae.com/foxboard/display_printer_threads.asp?ForumID=3&TopicID=2115)
เกร็ดความรู้จากการศึกษา PL/SQL
DUAL คือ อะไร ก่อนอื่นเรามาดูตัวอย่างการใช้งานกันก่อน
SELECT sysdate FROM DUAL;
DUAL เป็นตารางเล็ก ๆ ของ ORACLE ที่ถูกสร้างขึ้นสำหรับทดสอบฟังก์ชันและการคำนวณ
ตัวอย่างการเขียน SQL ของ Oracle
- ตัวอย่างที่ 1: SELECT INTO เรียนมาไม่เคยใช้ พอทำงานจริงกลับใช้เยอะมาก เช่น การอ่านข้อมูลจาก Column a ไปใส่ใน Column b ตาม SQL ต่อไปนี้
SELECT a INTO b FROM DUAL;
- ตัวอย่างที่ 2: การใช้ฟงก์ชั่นต่างๆของ Oracle ดูตากตัวอย่าง SQL เลยและกัน
select to_date(substr(c_in_file_name,instr(c_in_file_name,'_',-1,1 )+1,(instr(c_in_file_name,'.',-1,1)-instr(c_in_file_name,'_',-1,1) -1)),'yyyymmdd')into v_process_date from dual;
อธิบายเพิ่มตัวอย่างที่ 2
- ฟังก์ชั่น to_date คือ ฟังค์ชั่นที่แปลงตัวเลขเป็นวันที่
รูปแบบคำสั่ง: to_date(ข้อความ,รูปแบบวันที่) - ฟังก์ชั่น substr คือ ฟังค์ชั่นในการตัดคำ ของคอลัมน์ to_date
รูปแบบคำสั่ง: substr(ข้อความ,ตำแหน่งเริ่มต้น,ตำแหน่งสิ้นสุด) - ฟังก์ชั่น instr คือ ฟังค์ชั่นที่เอาไว้หาว่าตัวอักษร(คำ)ที่เราจะหาอยู่ในใดของตำแหน่งใดของข้อความ
รูปแบบคำสั่ง: instr(ข้อความ,อักษร หรือคำ,ตำแหน่ง,จำนวนที่ซ้ำ) - ฟังก์ชั่น ltrim():ตัดช่องว่างทางซ้าย, ฟังก์ชั่น rtrim():ตัดช่องว่างทางขวา, และ ฟังก์ชั่น trim():ตัดช่องว่างทางซ้ายและขวา
Discover more from naiwaen@DebuggingSoft
Subscribe to get the latest posts sent to your email.